มวยกับความเจ็บปวด กีฬาสายต่อสู้ กับเลือดนักสู้ที่มีอยู่ในตัวทุกคน
เชื่อกันว่าครั้งหนึ่งในชีวิตของลูกผู้ชายหรือลูกผู้หญิง ไม่ว่าจะผ่านช่วงวัยไหนหรือโตมาอย่างไรก็ตาม มวยกับความเจ็บปวด ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ทำให้พวกเราเติบโตขึ้น และจะจดจำไปตลอดไม่มีวันลืม ถึงแม้ว่าช่วงเวลาจะผ่านไป พร้อมกับความเจ็บปวดที่ไม่หลงเหลือ แต่มีสิ่งหนึ่งที่ทำให้ฉุกคิดขึ้นมาได้ ระหว่างที่เราอยู่ในสมรภูมิดุเดือด หมัดแลกหมัด
เข่าแลกเข่า แข้งแลกแข้ง ทว่าเรากลับไม่รู้สึกถึงความเจ็บปวด และเราก็ยังคงเลือดร้อนยิ่งกว่าเดิม จนกระทั่งเราได้หลับสักตื่น อาจจะโดนน็อคสลบไป หรือล้มลงไปสู้ไม่ไหวหมดแรง ถึงได้รู้ว่าอาการเจ็บ มึน และงง นั้นเป็นอย่างไร ทั้ง ๆ ที่ตอนที่เรากำลังโดนชก ในตอนนั้น ทำไมร่างกายเราถึงไม่รู้สึกระคายเคือง หากว่าคุณสงสัย เหตุผลทำไมนักมวยไม่รู้สึกเจ็บปวดเวลาต่อสู้ วันนี้เราจะพาทุกท่านไปหาคำตอบพร้อมกัน
จริง ๆ แล้วต้องย้อนกลับไปยุคดึกดำบรรพ์ การต่อสู้ อยู่ใน DNA ของเราทุกคน มนุษย์ทุกคนชอบ มวยกับความเจ็บปวด การต่อสู้โดยธรรมชาติเพราะมันอยู่ใน DNA ยกตัวอย่างง่าย ๆ หากคุณกำลังเดินไปบนถนนเส้นหนึ่ง แล้วหันไปทางขวาเจอคนกำลังเล่นอเมริกันฟุตบอล กับหันซ้ายแล้วเจอคนกำลังเล่น แทงบอล คุณก็ยังจะรู้สึกอยากหันไปมองคนที่กำลังเล่นอเมริกันฟุตบอลใช่ไหมล่ะ ก็แน่ล่ะกีฬานั้นค่อนข้างรุนแรง
แต่ว่าถ้าคุณเดินไปข้างหน้าอีกหน่อยหนึ่งแล้วเจอคนกำลังชกต่อยกัน แน่นอนว่าแทบทุกคนก็มักจะเลือกเดินไปเป็นชาวมุงดูการต่อสู้กันทั้งนั้นอย่างไม่ต้องสงสัย ซึ่งคำเปรียบเทียบเหล่านั้นเป็นการหยิบยกมาจากที่ผู้เขียนได้ยินคำพูดของ ดานา ไวท์ ประธานของ Ultimate Fighting Championship (UFC) ที่เชื่อว่าจะยากดีมีจน ทุกคนล้วนมีความเป็นนักสู้อยู่ในตัวทั้งนั้น
ด้วยเพราะทุกคนมีดีเอ็นเอของการต่อสู้ มวยกับความเจ็บปวด และเรื่องนี้ก็มีคำยืนยันทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยา ว่ากันว่า สัญชาตญาณที่แข็งแกร่งที่สุดของมนุษย์คือสัญชาตญาณการเอาตัวรอด กว่าที่มนุษย์จะมาถึง “ยุคปัจจุบัน” หรือ Homo sapiens เราต่างผ่านช่วงเวลาแห่งการต่อสู้กับสิ่งต่าง ๆ มานานตั้งแต่กว่า 85 ล้านปีก่อน และทุกวันนี้ทุกชีวิตก็ยังต้องสู้เพื่อเอาตัวรอด ไม่ต่างจากอดีต
เพราะว่า DNA ของนักสู้มันอยู่ในสายเลือดของมนุษย์ทุกคน กีฬาสายต่อสู้ ก็เลยบังเกิด
การต่อสู้ที่ว่านี่ไม่ใช่แค่การต่อสู้ด้วยหมัด มวยกับความเจ็บปวด เท่านั้น มนุษย์เอาชนะความหิวด้วยการกินและขึ้นมาเป็นผู้อยู่จุดสูงสุดของบ่วงโซ่อาหาร ทั้งเอาชนะความหนาวเย็นด้วยไฟและหาทำเครื่องนุ่งห่ม เราเอาชนะโรคร้ายในอดีตต่าง ๆ ด้วยวิทยาการและความรู้ เราสู้ด้วยกำลังและมันสมอง และนั่นแหละที่ทำให้มนุษย์ยังคงอยู่มาจนถึงทุกวันนี้
ถึงแม้ว่าเราจะไม่ได้เป็นเผ่าพันธุ์ที่แข็งแรงที่สุดในโลกก็ตาม แม้แต่ไดโนเสาร์ที่ว่าแข็งแกร่งก็ยังดับสิ้น ต่างกับมนุษย์ที่เอาตัวรอดมาได้ด้วยการต่อสู้และปรับตัว พอกล่าวมาถึงตรงนี้คุณก็ยังสงสัยอยู่ใช่ไหมว่า เหตุผลทำไมนักมวยไม่รู้สึกเจ็บปวดเวลาต่อสู้ เพราะว่าในยุคนี้รูปแบบของการต่อสู้และเอาตัวรอด ก็ถูกแยกย่อยเข้าไปอีกหลายแขนง
และสิ่งที่ถือเป็นการต่อสู้ยอดนิยมก็คือการชกมวย กีฬาสายต่อสู้ ที่อยู่คู่กับมนุษยชาติมาอย่างยาวนาน เราอาจจะไม่ได้ชกต่อยกันด้วยการเอามนุษยชาติมาเดิมพันบนสังเวียนเหมือนในสมัยอดีตกาล แต่มวยก็เป็นกีฬาที่ยืนยันได้ดีว่ามนุษย์ทุกคนนั้นตื่นตัวกับ การต่อสู้ มวยกับความเจ็บปวด พวกเรามีวิวัฒนาการ ในการเตรียมพร้อมก่อนสู้ มีการวางแผนอย่างมีชั้นเชิง ทว่าบางครั้งเราก็หนี DNA ไม่ได้
มวยกับความเจ็บปวด สัญชาตญาณการเอาตัวรอด จะแสดงออกมาเมื่อคุณกำลังเข้าตาจน
“เราทุกคนล้วนมีแผนการอยู่ในหัวทั้งนั้น จนกระทั่งคุณโดนชกหน้าเข้าซักทีนั่นแหละ เดี๋ยวรู้เลย”
คำพูดของ ไมค์ ไทสัน ยอดมวยอดีตแชมป์โลกเฮฟวี่เวต ในช่วงต้นยุค 90s บอกเล่าเรื่องราวของเขา ในวันที่ตัดสินใจกัดหู อีแวนเดอร์ โฮลีฟิลด์ ในไฟต์ชิงเข็มขัดก่อนที่เขาจะโดนปรับแพ้เพราะทำผิดกติกา ทว่าไฟต์นั้นเมื่อปี 1997 ก็กลายเป็นตำนานของโลกที่ใครก็ต้องเคยได้ยิน
สิ่งที่ไทสัน พยายามจะบอกกับโลก หลังโดนปรับแพ้คือ เขาไม่ได้ตั้งใจที่จะกัดหูใคร เขาไม่เคยคิดเล่นนอกกติกา จนกระทั่งเขาเจอกับสถานการณ์ที่ตัวเองสู้ไม่ได้ โดนต่อยอยู่ฝ่ายเดียว และกำลังจะเป็นผู้แพ้
จริง ๆ แล้วการโดนไล่ชกมันน่าจะทำให้เขารู้สึกเจ็บปวด หรือแสดงอาการออกมาบ้าง ไม่โดนน็อกไปเลยก็มีพี่เลี้ยงโยนธงขาวยอมแพ้ไป แต่ที่ ไทสัน เป็นคือเขาเลือดขึ้นหน้าไม่สนวิธีการใด ๆ อีกแล้ว ถึงร่างกายจะเจ็บปวดแค่ไหน เขาก็ไร้ความรู้สึกในตอนนั้น ขอแค่ได้ทำให้อีกฝ่ายเจ็บปวด นั่นคือสิ่งเดียวที่ไทสันคิดได้ เขาจึงกลับลงไปในสังเวียน
เหตุผลทำไมนักมวยไม่รู้สึกเจ็บปวดเวลาต่อสู้ ลืมทุกอาการหลังจากโดนหมัด โฮลีฟิลด์ ไปหลายชุด จนสุดท้ายเขาฝ่าเข้าไปกัดหูของ โฮลีฟิลด์ จนขาด
“ผมกัดเขาเพราะว่าผมอยากจะฆ่าเขาให้ตาย ผมคลุ้มคลั่งที่หัวของผมถูกกระแทกบ่อยครั้ง มันทำให้ผมหมดความอดทนกับการชก และไม่สนใจแผนการสู้และทุกอย่างที่เตรียมไว้อีกแล้ว” ไทสัน กล่าว
หากเอาตัวอย่างความรู้สึกของ ไมค์ ไทสัน มาแทนที่ความรู้สึกของมนุษย์ส่วนใหญ่ เราจะพบว่าไม่มีใครชอบที่จะเป็นฝ่ายโดนเล่นงานอยู่ฝ่ายเดียว ต่อให้คุณเกิดมาเป็นคนไม่สู้คุณ คุณก็อยากที่จะเอาชนะ หรืออยากชกใครสักคน หรืออยากรังแกใครสักคน แม้คุณจะไม่สวนด้วยหมัด ณ วินาทีนั้น แต่ร้อยทั้งร้อยภายในจิตใจคุณย่อมอยากจะรู้สึกโกรธแค้นอยู่ลึก ๆ
และมองหาทางสักทางที่จะเอาชนะให้ได้ แม้ไม่ใช่ในทางของ มวยสากล หรือการต่อสู้ก็ตาม เพราะเลือดนักสู้มันมีอยู่ในตัวทุกคน โดยเฉพาะกับมนุษย์เพศชาย ในวัยเด็กเราต่างอยากมีพลังไว้จัดการคนที่มาหาเรื่องเรา หรือจัดการคนชั่ว เมื่อโตขึ้นเราดูหนังสักเรื่องและมีฉากที่ตัวโกงโดนพระเอกเอาคืน หรือหนังล้างแค้นเรื่องใด ๆ ก็ตาม เราต่างรู้สึกเลือดลมสูบฉีดและสะใจขึ้นมา
เหตุผลทำไมนักมวยไม่รู้สึกเจ็บปวดเวลาต่อสู้ ทั้งที่ความเจ็บปวดคือสิ่งที่ใครก็ไม่ชอบ
เหตุผลทำไมนักมวยไม่รู้สึกเจ็บปวดเวลาต่อสู้ มนุษย์ทุกคนล้วนกลัวความเจ็บปวดกันทั้งนั้น นั่นเลยทำให้เราต้องใช้สมองคิดก่อนที่จะหาเรื่องใส่ตัวเองให้ได้รับความเจ็บปวด ไม่ว่าทางใดก็ทางหนึ่ง แต่เมื่อเราถึงเข้าตาจน ก็จะเป็นอย่างที่ ไมค์ ไทสัน บอกนั้นล่ะ ทุกคนมีแผนการจนกระทั่ง หน้างานไม่ตรงกับแผนที่วางไว้ ดังนั้นสัญชาตญาณของเราจึงถูกปลุกออกมาใช้งาน
เมื่อการต่อสู้เริ่มต้นขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการต่อสู้แบบอาชีพ อย่าง มวยสากล มวยไทย มวยMMA ที่ชกต่อยกันบนเวที หรือแม้กระทั่งการทะเลาะวิวาทข้างถนน เราก็จะไม่เหลือสิ่งใดให้กลัวอีกต่อไปเมื่อความโกรธและการต่อสู้เริ่มขึ้น ใครที่เคยได้โอกาสขึ้นสังเวียน มวยสากล หรือเคยมีเรื่องชกต่อยกับเพื่อน ๆ ที่โรงเรียน ในสมัยอดีตตอนเด็ก
เมื่อมีการปล่อยหมัดใส่กัน เราแทบจะไม่พูดอะไรต่อ แล้วใส่กันแทบทันที ในวินาทีนั้นเหมือนกับความรู้สึกต่าง ๆ ความเจ็บ ความกลัว มันหายไป และไม่มีอีกต่อไป จนกว่าการต่อสู้จะจบลง เหตุผลที่เป็นแบบนั้นก็เพราะสัญชาตญาณการเอาตัวรอดในตัวเราถูกปลุกขึ้น เราอาจจะเห็นบทความที่อธิบายเกี่ยวกับ มวยสากล ว่า “นักมวยรับมือกับความเจ็บปวดในการต่อสู้ได้อย่างไร ?”
พวกเขาบอกว่า เพราะการตอบสนองของร่างกาย ยกตัวอย่างเช่นเวลาที่เราจะโดนใครสักคนชกหน้า เสี้ยววินาทีนั้นเปลือกตาของคุณจะปิดลง แขนทั้งสองข้างของคุณจะถูกยกขึ้นมาเพื่อปัดป้องตามสัญชาตญาณ คอของคุณจะหดเพื่อรับแรงกระแทก
เมื่อร่างกายได้ป้องกันตัวเองตามสัญชาตญาณก็เหมือนการผ่อนหนักเป็นเบา จากที่จะโดนหมัดซัดเต็มหน้าจนหัวส่าย อย่างน้อยคอที่หดและเกร็งก็ช่วยลดแรงกระแทกที่ส่งตรงถึงสมองได้ จากจะโดนชกเข้าที่ดวงตาจนบอด ก็กลายเป็นแค่ตาเขียวหรือบวมช้ำเท่านั้น สิ่งนี้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ มนุษย์ทุกคนมีเหมือนกันหมด เพียงแต่เหล่านัก มวยสากล นั้นฝึกฝนจนสามารถมีปฏิกิริยาที่เร็วกว่าคนทั่วไป
แทนที่คุณจะเจ็บ คุณจะกลับมาตื่นเต้น หายใจถี่ขึ้น หัวใจเต้นเร็วขึ้น นั่นก็เป็นเพราะว่าสารอะดรีนาลีนกำลังพุ่งพล่านถึงขีดสุด และเมื่อเป็นเช่นนั้นร่างกายจะลืมอาการเจ็บปวดนั้นไปชั่วขณะ ในสถานการณ์ที่ตึงเครียดถึงขีดสุด ร่างกายของเราจะหลังสารทั้ง อะดรีนาลีน และ เอ็นโดรฟีน เพื่อบล็อกสัญญาณความเจ็บปวด ให้เราได้จัดการสถานการณ์ตรงหน้าจนกว่าเราจะปลอดภัย และหลังจากนั้นสัญญาณความเจ็บปวดก็จะตามมาในภายหลังนั่นเอง
สรุปแล้ว มนุษย์ทุกคนมีสัญชาตญาณการเอาตัวรอด มวยกับความเจ็บปวด เป็นเรื่องเกี่ยวกับสสารในร่างกายของเรา
กล่าวได้ว่าสัญชาตญาณการเอาตัวรอดในความเป็นมนุษย์ คือสิ่งที่ทำให้ร่างกายของเราไม่ได้รู้สึกเจ็บปวดในทันที เฉพาะตอนที่กำลังต่อสู้ ขึ้นสังเวียน มวยไทย หรือในยามที่เกิดอุบัติเหตุ คุณอาจจะเคยได้ยินเรื่องคนโดนรถชนแล้วลุกขึ้นมายืนได้หน้าตาเฉย เมื่อเวลาผ่านไปสักพักเขาก็เริ่มรู้สึกเจ็บปวด หรือคุณอาจจะเคยประสบเองกับตัว เวลาที่คุณเจ็บตัวแบบไม่รู้ตัว แล้วเพิ่งมารู้สึกเจ็บที่หลัง มารับรู้ว่าตนเองมีแผลตอนไหนไม่รู้
สรุปแล้วร่างกายของเรานั้นช่างแสนอัศจรรย์ บางครั้งสิ่งที่เราพยายามหาคำตอบแทบตายว่าเป็นเพราะอะไร สุดท้ายคำตอบเหล่านั้นก็อยู่ในตัวของเราเอง เพราะมนุษย์ทุกคนมีความเป็นนักสู้อยู่ในตัว มนุษย์ทุกคนมีสัญชาตญาณการเอาตัวรอดอย่างเต็มเปี่ยม
ทุกวันนี้เราอาจจะมีเรื่องที่ทำให้เครียด เรื่องราวที่ทำให้รู้สึกแย่ในแต่ละวัน และท้อแท้จนไม่อยากมีชีวิตต่อไป ขอให้คุณมองใหม่ในฐานะผู้มีสัญชาตญาณการเอาตัวรอดที่เป็นเลิศ หาทางออก รับมือกับความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นให้ได้ อดทนเอาไว้จนกว่าที่คุณจะรู้สึกปลอดภัย เหมือนกับที่ DNA ในตัวเรามักจะทำงานหยุดความเจ็บปวดภายในร่างกายของคุณ
จากนั้นค่อยมาหาวิธีเอาชนะมัน ด้วยความคิดและสติสัมปชัญญะทั้งหมดที่เรามี
“อีกหนึ่งด้านของความทุกข์และทรมานคือความยิ่งใหญ่ … ความยิ่งใหญ่ที่ว่านั้นคือการบรรลุถึงชัยชนะ ซึ่งชัยชนะนี้เกิดขึ้นจากการเอาชนะตัวเอง” เดวิด ก็อกกิ้นส์ อดีตหน่วยรบ Navy Seal ที่ว่ากันว่าฝึกหนักและทรมานที่สุด เคยกล่าวไว้
“อย่าถอดใจ อย่ายอมแพ้ อย่าลืมว่าคุณได้ลิ้มรสความเจ็บปวดไปแล้ว คุณโดนเล่นงานด้วยความเจ็บปวด และในทุกความเจ็บปวดมีรางวัลซ่อนอยู่เสมอ … คุณต้องรับมันไว้เป็นรางวัล” คอเนอร์ แม็คเกรเกอร์ นักสู้MMA ผู้ชอบลิ้มรสความเจ็บปวด กล่าวไว้
ติดตามเว็บไซต์ที่น่าสนใจ : ดูบอล
อ่านบทความเพิ่มเติม => นักมวยหน้าหล่อ